-
Notifications
You must be signed in to change notification settings - Fork 16
/
Copy pathJenkinsfile
231 lines (219 loc) · 21.9 KB
/
Jenkinsfile
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
/*
เราตั้งใจสร้าง List ขึ้นมาเพื่อให้เป็น Template สำหรับ choice ในการเลือก
Environment Server สำหรับ Deploy เช่นบน Dev Server อาจจะมี IP
อยู่คนล่ะเครื่องกับ Production และ Database ก็อาจจะไมไ่ด้แยกแค่ระดับ Schema
แต่อาจจะแยกเป็นคนล่ะ DB อยู่คนล่ะที่กันเลย ซึ่งเราจะใช้ตัวแปรที่เป็น Constant เหล่านี้ในการทำเงื่อนไข
ว่าถ้าหากเป็น Dev Server ตัวแปร DB Server ก็จะมี Value คนล่ะอย่างกับ Prodcution นั่นเอง
*/
def getServerEnvironmentList(){
return ['DEV', 'SIT', 'UAT', 'PROD']
}
// Pipeline Declarative คือ Syntax ที่ขึ้นต้นด้วยคำว่า Pipeline
pipeline {
// agent :คือการบอกว่า จะจำกัดเงื่อนไขในการสั่ง execute task ไปที่ใดบ้างถ้าใช้ any ก็คือไม่มีข้อจำกัดใดๆ
agent any
// enviroment :คือการสร้างตัวแปรระดับ global ซึ่งจะไมไ่ด้จำกัด scope แค่ภายใน block ของแต่ล่ะ stage แต่จะเห็นทั้ง Pipeline
// ซึ่งการเรียกตัวแปรตรงนี้จะพิเศษกว่าการกำหนด env ภายใน stages เพราะจะไม่ต้องนำหน้าด้วย env. แต่จะเรียกชื่อตัวแปรได้เลยภายใน ${ variable }
environment {
AZ_AKZ_USER = credentials('AZ_AKZ_USER')
AZ_AKZ_PASSWORD = credentials('AZ_AKZ_PASSWORD')
AZ_AKZ_TENANT = credentials('AZ_AKZ_TENANT')
CONTAINER_IMAGE = 'dev/spring-random-pod'
AZ_AKS_NAME = "kube-devops"
AZ_AKS_RESOUCE_GROUP = "Elasticsearch-Stack"
// ชื่อของเครื่องที่ต้องการจะ Hold Approve ก่อนที่จะ Deploy ขึ้นไป
PRODUCTION_SERVER = "PROD"
}
/*
stages :คือ root path หลักในการประกอบงานระดับ stage เข้ามาด้วยกันซึ่งถ้าถามว่า stage จะสื่อถึงอะไร ?
stage ก็เปรียบเสมือนสายพานผลิตแบบยาวๆซึ่งจะเริ่มตั้งแต่ การ load อะไหล่เข้ามากองรวมกัน การประกอบอะไหล่
และพอประกอบเสร็จก็เทสว่าอะไหล่หลายส่วนทำงานร่วมกันได้มั้ย โดยส่งไปที่ห้องทดลองแรกทดสอบกันน้ำ
และก็ส่งไปห้องกันกระแทก ทดสอบ long term ว่าอุปกรณ์ใช้งานได้จริงๆไหมหากเปิดทำงานต่อเนื่องกัน ซึ่งตรงนี้คือ stage นั่นเอง
แต่ถ้าเรามาดูที่ steps ที่อยู่ใน stage ก็จะเป้นขั้นตอนย่อยๆซึ่งต้องการความละเอียดทุกๆขั้นตอนในการทำงานตัวอย่างเช่น
การโหลดอะไหล่เข้ามา ก็ต้องดูว่าแล้วอะไหล่อะไรที่ต้องใช้ จะโหลดจากไหน ? โหลดเสร็จแล้วต้องส่งไปที่สายพานไหนต่อ
แล้วกล่องที่ใช้แพ็คอะไหล่หลังจาก load ชื่อว่าอะไร ? คนต่อไปหากจะใช้ของที่ pack มาต้องหากล่องชื่อว่าอะไรนั่นเอง
*/
stages {
// เป็นส่วนทดสอบตัวแปร env ต่างๆซึ่ง Jenkins จะมีตัวแปรบางตัวที่มาพร้อมอยู่แล้วเป็น Global Variable ก็จะเรียกใช้ชื่อตัวแปรเหล่านั้นได้เลย
// จากตัวอย่างคือเรามีการใช้ Plugin GIT (Pre-Load) มาหใ้แล้วเราไม่ต้องลงที่เราใช้ Git ได้ก็เพราะ Plugin Git นั่นเอง
// สามารถเข้าไปดูตัวแปรจาก Plugin ได้ที่ส่วนของ Environment https://plugins.jenkins.io/git/
// stage จะเป็นการตั้งชื่อเฉยๆให้เห็นบน Ocean Blue GUI
stage('Setup Default ENV') {
steps {
echo '=========== Verify Branch ============'
echo "${GIT_BRANCH}"
script {
// ตั้ง default tag สำหรับ branch อื่นๆที่ไมไ่ด้ build ผ่าน master
// ซึ่งตัวแปร env ที่เราสร้างเองจะนำหน้าด้วย env.ENV_NAME เสมอและจากนั้นตัวแปรก็จะมองเห็นระดับ global ข้ามไปหานอก block code ได้
env.BUILD_BRANCH = "${GIT_BRANCH}-"
env.TAG_VERSION = "${BUILD_ID}"
}
echo "${env.BUILD_BRANCH}"
}
}
stage('Input Data For Production') {
// when condition จะทำงานก็ต่อเมื่อใช้ Multibranch Pipeline เท่านั้นซึ่งถ้าเงื่อนไขตรงก็จะสามารถทำงานได้ถ้าไม่ตรงก็จะ skip ไปทั้ง stage เลย
when {
branch 'master'
}
steps {
// script directive คือส่วนที่ทำให้เราสามารถเขียน logic ตัวแปร programming ผสมกับ shell script ได้ โดย syntax ก็จะเป็น Groovy
script {
// โค้ดส่วนนี้คือการให้ git ดึงเวอร์ชั่นทั้งหมดของ Tag ใน Git ในแสดงทาง Standard Output และเก็บลงไปในตัวแปร
// sh() คือ method ที่ให้เราเขียน shell script ได้ https://www.jenkins.io/doc/pipeline/steps/workflow-durable-task-step/#sh-shell-script
def git_tags = sh(script: 'git tag | sort -r', returnStdout: true)
// input จะเป็น method พิเศษที่ทำให้เราสามารถเพิ่ม Input GUI ใน Ocean Blue เพื่อป้อนค่าเข้าไปได้ https://www.jenkins.io/doc/pipeline/steps/pipeline-input-step/
// ซึ่งหลักการด้านล่างคือการมี choice ให้เลือกจาก Tag และ Build ID กับดึง list ของ server ต่างๆมาใช้ส่วน boolean, password เป็นตัวอย่างเฉยๆ
def input_params = input message: 'Tag Versioning',
parameters : [
choice(name: 'TAG_VERSION', choices: "${git_tags}", description: 'เลือก Tags ที่ต้องการ'),
text(name: 'BUILD_ID', defaultValue:"${BUILD_ID}"),
choice(name: 'SERVER_ENVIRONMENT', choices: getServerEnvironmentList(), description: 'เลือก Server Enviroment'),
booleanParam(name: 'TOGGLE', defaultValue: true, description: 'Toggle this value'),
password(name: 'PASSWORD', defaultValue: 'SECRET', description: 'Enter a password')
]
env.BUILD_ID = input_params.BUILD_ID
env.BUILD_BRANCH = ''
env.SERVER_ENVIRONMENT = input_params.SERVER_ENVIRONMENT
env.TAG_VERSION = input_params.TAG_VERSION
env.TOGGLE = input_params.TOGGLE
env.PASSWORD = input_params.PASSWORD
}
}
}
stage('Build Java Project') {
/*
build ทดลองใส่ตัวแปรบิ้วตรงนี้
agent ตรงนี้เราจะพิเศษกว่าคือเราต้องการนำ source code ที่เป็น Java ของเราส่งเข้าไป Build ใน Jenkins เพื่อจะส่ง .jar ไปให้ Docker ต่อไป
ซึ่งโปรเจคของผมใช้เป็น maven ผมก็จะใช้ maven image ในการ compile Spring Boot ให้ได้ .jar และส่ง .jar นี้ไปให้อีก Stage หนึ่ง
ที่จะทำหน้าที่เฉพาะคือการ Build Container Image นั่นเอง
*/
agent {
docker {
image 'maven:3.6.3-jdk-11'
args '-v /root/.m2:/root/.m2'
}
}
steps {
script {
sh 'echo ==='
sh 'mvn -B -DskipTests clean package'
/*
archiveArtifacts :เราสามารถเลือกได้ด้วยว่าอยากเก็บ artifact ที่ build ออกมาเข้าไปใน Jenkins
หรือไม่ซึ่งก็จะแสดงบน GUI ของ Jenkins เป้นไฟล์ .jar ให้สามารถ Download ได้เช่นเดียวกันด้วย
*/
// archiveArtifacts artifacts: '**/target/*.jar', fingerprint: true
/*
stash :นั่นอาจจะดูสับสนกับ archiveArtifacts แต่ว่า Stash นั้นจะไม่ได้เป็นการเซฟ Artifact แบบถาวรแล้วให้ Download ได้
แต่มันเป้นแค่การเซฟ stage ของไฟล์ดังกล่าวแพ็คลงกล่องเพื่อให้สามารถส่งไปยังอีก Stage ได้โดยที่ของไม่หายไป เพราะไม่อย่างนั้นจะพบว่า
ของที่เคย build มาหายหมดเลย ซึ่งก็เป็นเช่นนั้นเพราะว่าการ Build ใน Docker ทุกอย่างก็จะอยุ่แค่ใน layer ชั่วคราวถ้าไม่เซฟก็จะหายไปนั่นเอง
*/
stash name: 'java-artifact', includes: '**/target/*.jar'
}
}
}
stage('Build Docker') {
// Stage นี้จะทำงานก็ต่อเมื่อ Branch ที่โดน Trigger อยู่ในเงื่อน Or คือ Branch ใด Branch หนึ่งจากรายการดั่งต่อไปนี้นั่นเอง
when {
anyOf {
branch 'master'
branch 'dev'
}
}
steps {
script {
sh 'echo ============= Build Docker Image and Push ==================='
// unstash :คือคำสั่งที่ทำการ unpack ของจากขั้นตอนก่อนหน้านั่นเองซึ่งเราก็จะต้องระบุชื่อของกล่งอที่ pack มาให้ถูกต้องดว้ยเช่นกัน
unstash 'java-artifact'
// ในขั้นตอนนี้คือการประกอบตัวแปรของ image ที่เราเตรียมจะ build และตั้งชื่อ tag ให้ตรงกับบน container registry เพื่อที่จะ push ขึ้นไป
def FULL_CONTAINER_IMAGE_PATH = "${AZ_CONTAINER_REGISTRY_URL}/${CONTAINER_IMAGE}:${env.BUILD_BRANCH}${env.TAG_VERSION}"
env.FULL_CONTAINER_IMAGE_PATH = FULL_CONTAINER_IMAGE_PATH.replaceAll('/', "\\\\/")
// เลข ID ด้านหลังคือการ reference Credentials ของ Container Registry ที่เราเก็บไว้ใน Jenkins Server นั่นเอง
// ที่ต้องระบุเพราะว่าเวลาเรา Push container image ไปเก็บใน Private Registry เราก็จะต้องระบุ Credentials ด้วยนั่นเองเช่น
// URL ที่ Login เข้าไป username + password หรืออาจจะเป็น public key, access token ต่างๆขึ้นกับ policy security
docker.withRegistry("https://${AZ_CONTAINER_REGISTRY_URL}", '77ae6c02-d40b-4bae-82bf-ade4eeff03e3') {
def newApp = docker.build "${env.FULL_CONTAINER_IMAGE_PATH}"
newApp.push()
}
}
}
}
stage('Deploy to Development') {
when {
branch 'dev'
}
steps {
echo '=========== We are Development branch ========='
}
}
stage('Deploy to Kubernetes') {
// when {
// branch 'master'
// }
agent {
docker {
// ตรงส่วนนี้คือการใช้ Azure CLI Container ของ Microsoft ในการ Login เพื่อรับ Credentials และทำการสั่ง Deploy
// แต่กระนั้น Jenkins ก็มีปัญหากับเรื่อง root permission แบบ fix code บน Azure CLI ลองเข้าไปอ่านได้ที่ลิ้งค์นี้คับ
// https://github.com/Azure/azure-cli/issues/14151
image 'mcr.microsoft.com/azure-cli:2.8.0'
args '--user root'
}
}
steps {
/*
script ตรงนี้จะเป็นส่วนที่ใช้ในการ Deploy ไปยัง Kubernetes ซึ่งการจะ Deploy ได้นั้นก็หมายความว่าเราต้องมี Kubernetes Resource
ให้พร้อมใช้งานเริม่จากการสร้าง Deployment -> ReplicaSet -> Pod และทำการเปิด Service ให้ทำสามารถ Access ได้และจากนั้นก็ค่อย
ทำการ Apply Ingress Resource ให้ชี้ไปยัง Kubernetes Servcie เป็นส่วนสุดท้ายเราก็จะทำการ Update Kubernetes Deployment
Version ใหม่ได้แล้ว แต่ของเราจะใช้ annotation change cause บน Kubernetes ให้เกิดประโยชน์มากขึ้นเพื่อที่ตอนเราใช้ kube rollout history
เราจะสามารถดูได้ว่า Version ของ Image ที่ Deploy ไปแล้วอยู่ที่ Version ใดบวกกับ Commit Message ล่าสุดคืออะไร
*/
script {
sh "pwd"
def COMMIT_MESSAGE = sh(script: 'git log -1 --pretty=%B', returnStdout: true).trim()
// replace อักขระพิเศษออกไปป้องกัน sed มีปัญหา
env.COMMIT_MESSAGE = COMMIT_MESSAGE.replaceAll("(\')|(\")|(/)|(\\\\)|(\\()|(\\))|(\n)|(\t)", '')
sh "echo ${env.COMMIT_MESSAGE}"
sh "echo ============ AKS Credential ==============="
sh "az login --service-principal -u ${AZ_AKZ_USER} -p ${AZ_AKZ_PASSWORD} -t ${AZ_AKZ_TENANT}"
// ติดตั้ง AKS CLI บน Azure CLI Container เพื่อให้ใช้คำสั่ง K8S ได้
sh "az aks install-cli"
sh "az aks get-credentials -n ${AZ_AKS_NAME} -g ${AZ_AKS_RESOUCE_GROUP}"
// เลือก YAML สำหรับ Deploy ไปยัง K8S ให้ตรงกับ Enviroment ของเครื่องเช่น DEV, Staging, Production
// จะ Hold การ Auto Deploy เมื่อการบิ้วแล้วส่งไปยังเครื่องนั้นตรงกับชื่อเคร่องที่ Hold ไว้ (เพราะสำคัญห้าม Auto Deploy)
if ("${env.SERVER_ENVIRONMENT}" == "${PRODUCTION_SERVER}"){
// จะถามยืนยันก่อน Deploy ถ้าเป็น master build และมีการตั้งเวลากำหนดไว้ว่าต้องทำการยืนยันภายใน 2 ชั่วโมง
timeout(time: 2, unit: 'HOURS') {
input message: 'Approve Deploy to Production?', ok: 'Yes'
}
env.K8S_DEPLOY_YAML_PROFILE = "k8s-deployment-production.yaml"
env.K8S_SERVICE_YAML_PROFILE = "k8s-service-production.yaml"
} else {
env.K8S_DEPLOY_YAML_PROFILE = "k8s-deployment.yaml"
env.K8S_SERVICE_YAML_PROFILE = "k8s-service-nodeport.yaml"
}
// ใช้กำหนด docker image ที่จะรัน pod
// sed คือ Stream Editor บน Linux ใช้ในการแก้ไข Text File ตาม Pattern Regex ที่พบซึ่งก็จะคล้ายๆกับ AWK เช่นเดียวกัน
// จากโค้ดชุดนี้คือเราต้องการที่ replace ตัวแปรที่เป็น Environment ต่างๆให้อยู่ใน Deployment ของ Kubernetes
// ซึ่งจริงๆแล้วเราจะใช้ Helm ก็ได้เพื่อที่จะได้มีไฟล์ values.yaml เป็น Template แล้วไม่ต้องแก้ไขด้วย sed ทีล่ะคำโดย -i หมายถึงยืนยันการแก้ไข
sh "sed -i 's/AZ_CONTAINER_REGISTRY_URL/${AZ_CONTAINER_REGISTRY_URL}/g' ${env.K8S_DEPLOY_YAML_PROFILE}"
sh "sed -i 's/IMAGE_GIT_BRANCH-/${env.BUILD_BRANCH}/g' ${env.K8S_DEPLOY_YAML_PROFILE}"
sh "sed -i 's/IMAGE_BUILD_ID/${env.TAG_VERSION}/g' ${env.K8S_DEPLOY_YAML_PROFILE}"
// ตั้งแต่บรรทัดนี้ไปจะเป็นการ Replace ตัวแปรใน Kubernetes yaml ตาม Pattern จากตัวแปรของเรานั่นเอง
// กำหนด change cause ของ rollout history
sh "sed -i 's/ENV_CHANGE_CAUSE_MESSAGE/[IMAGE] ${env.FULL_CONTAINER_IMAGE_PATH} - ${env.COMMIT_MESSAGE}/g' ${env.K8S_DEPLOY_YAML_PROFILE}"
// กำหนด env ของ pod ให้ทุกตัวนำด้วย ENV_
sh "sed -i 's/ENV_SERVER_ENVIRONMENT/${env.SERVER_ENVIRONMENT}/g' ${env.K8S_DEPLOY_YAML_PROFILE}"
sh "sed -i 's/ENV_GIT_BRANCH/${GIT_BRANCH}/g' ${env.K8S_DEPLOY_YAML_PROFILE}"
sh "sed -i 's/ENV_BUILD_ID/${env.TAG_VERSION}/g' ${env.K8S_DEPLOY_YAML_PROFILE}"
// สั่ง apply resource ไปยัง K8S
sh "echo =========================================="
sh "echo ============ Deploy to Kubernetes to ${env.SERVER_ENVIRONMENT} API ============="
// สร้าง Deployment Resouce
sh "kubectl apply -f ${env.K8S_DEPLOY_YAML_PROFILE}"
// สร้าง Service Resouce สำหรับทำ Service Discovery
sh "kubectl apply -f ${env.K8S_SERVICE_YAML_PROFILE} --record=true"
}
}
}
}
}